ค้นหาบล็อกนี้

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ตัวอย่างแบบทดสอบพหุนาม ม.2


แบบทดสอบก่อนเรียน
คำชี้แจง  ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย   ในช่องตัวอักษรที่ถูกต้อง

        1.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ y3 + 4y

                   .  y (y2 + 4)

                   .  y3(y + 4)

                   .  2y(y + 4)

                   .  2y(y + 2)

        2.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ x3 + x

                   .  x(x2 + x)

                   .  x(x2 + x3)

                   .  x(x2 + 1)

                   .  x3(x + 1)

        3.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 7x – 14

                   .  7(x – 14)

                   .  7(x – 2)

                   .  7(x + 2)

                   .  7x(x + 2)

 
        4.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ  – 9 x + 3

                   .  3(3x + 1)

                   .  3(-3x + 3)

                   .  -3(-3x + 1)

                   .  3(-3x + 1)

        5.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 10x + 4

                   .  2(5x + 2)

                   .  2(5x + 4)

                   .  -2(5x + 2)

                   .  -2(5x + 4)
        6.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 14y + 26z

                   .  2(7y + 26z)

                   .  7(2y + 26z)

                   .  7(2y + 13z)

                   .  2(7y + 13z)

        7.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 3z2 – 2z     

                   .  z(3z – 2)

                   .  z(3z2 – 2)

                   .  z2(3z – 2)

                   .  3z(z – 2)

        8.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 15x2y – 18 xy2

                   .  3xy(5x –6y)

                   .  5x2(3y x2y2)

                   .  6(15x2y  3xy2)

                   .  15 – 18 (x2y xy2)

        9.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 12y2z + 20yz

                   .  2yz (6y2z + 10yz)

                   .  2(6y2z + 10yz)

                   .  2yz(6y + 10)

                   .  y2z(12+20)
        10.  ข้อใดคือการแยกตัวประกอบของ 16x3y3 24x4y

                   .  8x3y (2y2 – 3x)

                   .  8x3y2 (2y – 3x)

                   .  8x3y(2y2 – 3x)

                   .  – 8x3y(2y2 – 2x)


การแยกตัวประกอบพหุนาม โดยการหาตัวประกอบร่วม
 
พหุนาม

                   เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่
หนึ่งตัวขึ้นไปโดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก               

                   พหุนาม คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป

                   การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณของพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่าพหุนามเดิมตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป

ตัวอย่าง 

                                   3x + 9  =  3 (x + 3)

                                   6 3a  =  3 (2a)

                                   8a + 72  =  8 (a + 9)

                                   10x + 4  =  2 (5x + 2)

                                   14y + 26z  =  2 (7y + 13z)

                                   5y2 – 20y  =  5y(y – 4)

                                   x2  + 12x + 35  =  (x + 5)(x+7)

                                   6x2  + 29x + 9  =  (3x + 1)(2x + 9)

การหาผลบวกของพหุนาม ทำได้โดย นำพหุนามมาเขียนในรูปการบวก และถ้ามีพจน์ที่คล้ายกัน ให้บวกพจน์ที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน  เช่น
P(x) = 2x3 + 5x − 3         Q(x) = 4x − 3x2 + 2x3
1. เขียนพหุนามที่กำหนดให้ทั้งหมดที่ต้องการบวกกันในบรรทัดเดียวกัน
P(x) +  Q(x) = (2x3 + 5x − 3) + (2x3 − 3x2 + 4x)
2. รวมพจน์ที่คล้ายกัน
P(x) +  Q(x) = 2x3 + 2x3 − 3x2 + 5x + 4x − 3
3. เขียนผลลัพธ์ที่ได้ในรูปพหุนามผลสำเร็จ
P(x) +  Q(x) = 4x3 − 3x2 + 9x − 3
…….การลบพหุนามด้วยพหุนาม ทำได้โดยการบวกพหุนามที่เป็นตัวตั้งด้วยจำนวนตรงข้ามของพจน์แต่ละพจน์ของพหุนามที่เป็นตัวลบ
P(x) − Q(x) = (2x3 + 5x − 3) − (2x3 − 3x2 + 4x)
P(x) − Q(x) = 2x3 + 5x − 3 − 2x3 + 3x2 − 4x
P(x) − Q(x) = 2x3 − 2x3 + 3x2 + 5x − 4x − 3
P(x) − Q(x) = 3x2 + x − 3


 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น